องกรค์พุทธยุโรป ยื่นหนังสือต่อประธานองค์กรสิทธิมนุษยชน ประจำสหประชาชาติ
ถึงUNแล้ว! องกรค์พุทธยุโรป ยื่นหนังสือต่อประธานองค์กรสิทธิมนุษยชน ประจำสหประชาชาติ นครเจนีวาในงานประชุมสามัญประจำปี องค์กรสิทธิมนุษยชน แห่งสหประชาชาติ ครั้งที่ 34
จันทกุมารบําเพ็ญขันติบารมี (1)
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อานิสงส์ของความอดทน ๕ ประการ คือ ผู้อดทนย่อมเป็นที่รัก เป็นที่ชอบใจของคนเป็นอันมาก เป็นผู้ไม่มากด้วยเวร เป็นผู้ไม่มากด้วยโทษ เป็นผู้ไม่หลงทำกาละ และเมื่อตายไป ย่อมเข้าถึงสุคติโลกสวรรค์ ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อานิสงส์ของความอดทนมี ๕ ประการเช่นนี้แล
จันทกุมารบําเพ็ญขันติบารมี (2)
ภิกษุทั้งหลาย ผู้ประกอบด้วยความอดทน ย่อมไม่หลงทำกาละ เมื่อแตกกายทำลายขันธ์ ย่อมเข้าถึงสุคติโลกสวรรค์
จันทกุมารบําเพ็ญขันติบารมี (4)
สัตบุรุษทั้งหลายบรรเทาความทุกข์อันยากที่จะอดทนได้ด้วยความสุข เพราะเป็นผู้มีจิตเยือกเย็นยิ่งนัก ในความสุข และทุกข์ทั้ง ๒ อย่าง ย่อมเป็นผู้มีจิตเป็นกลาง ทั้งในความสุขและทุกข์
ธรรมกาย กายแห่งการตรัสรู้ธรรม
ธรรมกาย คือ กายแห่งการตรัสรู้ธรรม คำว่า “ธรรมกาย” มีปรากฏหลักฐานทั้งในพระไตรปิฎก และคัมภีร์สำคัญๆ ในพระพุทธศาสนาฝ่ายเถรวาทของเราหลายแห่ง พุทธรัตนะ คือ ธรรมกาย ธรรมรัตนะ คือ ธรรมทั้งหลายที่กลั่นจากหัวใจธรรมกาย สังฆรัตนะ คือ ดวงจิตของธรรมกาย
แนะตั้ง “สภาเด็ก” แก้ปัญหาพวกติดเกม
นั่งสมาธิง่ายกว่าการทำอาหารเยอะเลย
"การทำอาหารนั้นเป็นสิ่งที่วุ่นวาย ร้อน ทำให้หงุดหงิดง่าย และน่าปวดหัวอย่างที่สุด" นี่คือสิ่งที่ จีฮาน อะบีวีรา ชาวศรีลังกา เข้ามาทำงานเป็นพ่อครัว อยู่ที่ประเทศบรูไน พูด เพราะเขาอารมณ์ร้อน ถึงกับเอาถังน้ำที่มีน้ำล้างพื้นคว่ำใส่หัวของลูกน้อง เมื่อตอนที่เขาสั่งแล้วไม่ยอมทำเสียที แต่หลังจากที่เขาฝึกสมาธิ ก็ทำให้เขาใจเย็นลง พร้อมกับเอ่ยว่า "ความเย็นภายใน ก็ทำให้ผมอารมณ์เย็นขึ้นด้วย" แล้วก็ทำให้เขาทำอาหารได้อร่อยขึ้น...
ทำไมยิ่งเกลียดยิ่งเจอ
คำถาม : มีคุณโยมท่านหนึ่งถามมาว่าทำไมบางคนบางอย่างยิ่งเกลียดยิ่งเจอ เช่น ยิ่งไม่ชอบคนกินเหล้าแต่ก็ได้สามีขี้เหล้า ไม่ชอบสามีงี่เง่าแต่ก็เจอเป็นเพราะอะไรกันคะ
ชัยชนะครั้งที่ 3 (ตอน ชนะช้างนาฬาคีรี)
พระผู้มีพระภาคเจ้าจอมมุนี ได้ชัยชนะต่อช้างตัวประเสริฐ ชื่อนาฬาคีรี ซึ่งเป็นช้างตกมัน สุดแสนที่จะทารุณร้ายกาจ ด้วยนํ้าพระเมตตา ด้วยเดชแห่งชัยชนะของพระพุทธเจ้านั้น ขอชัยมงคลทั้งหลายจงบังเกิดมีแก่ท่าน
อัธยาศัยของมนุษย์ (๑)
บัณฑิตพึงทราบ จริตทั้งหลาย โดยอิริยาบถ โดยกิจ โดยการบริโภค โดยอาการ มีการดู เป็นต้น และโดยความเป็นไป แห่งธรรมนั่นแล